วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554
กลองสะบัดชัย
กลองสะบัดชัย
การตีกลองสะบัดชัย เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนาอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะพบเห็นในขบวนแห่ หรือ งานแสดงศิลปะพืนบ้าน โดยทั่วไป ลีลาในการตี มีลักษณะโลดโผนเร้าใจ มีการใช้อวัยวะ หรือ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ศอก เข่า ศรีษะ ประกอบกาตีด้วยท่า ให่การแสดงการตีกลองสะบัดชัยเป็นที่ประทับใจของผู้ชม และเป็นที่นิยมกันอยางกว้างขวางในปัจจุบัน ใช้ตีบอลสัญญาน มีกลายลักษณะดังนี้
- สัญญานโจมตีข้าศึก
- สัญญานบอกข่าวในชุมชน
- เป็นมหรสพ
- เป็นเครื่องประโคมฉลองชัยชนะ
- เป็นเคื่องประโคมเพื่อความสนุกสนาน
รูปร่างลักษณะของกลองสะบัดชัย
รูปร่างลักษณะแต่เดิม เท่าที่พบมีแห่งเดียวคือ กลองสะบัดชัยจำลองทำด้วย สำริด ขุดพบที่วัดเจดีย์สูง
ตำบล บ้านหลวง อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่
ขอขอบคุณข้อมูลจาก idealanna.igetweb.com ครับ
วันอังคารที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2554
ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง
" สล่า" เป็นคำสรพพนามที่ใช้เรียกขานกันในภาษาท้องถิ่น ภาคเหนือความหมารยเหมือนกับคำว่า"ช่าง" หมายถึง ผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับสาขาอาชีพตามแขนงงานของตนคำว่า"สล่า" นั้นมีความยิ่งใหญ่ ด้วยเหตุผลที่ว่าผู้ที่จะยึดอาชีพงานสล่าได้นั้น จำเป็นต้องมีทักษะฝึกฝนเรียนรู้และฝึกประสบการณ์ให้เกิดความชำนาญได้เป็นอย่างดี รู้จักคิดเป็นทำเป็นสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง ฉลาด รอบคอบ ขยันอดทนและสร้างสรรค์ผลงานเพื่อเป็นการแสดงถึงจิตวิญญาณ วิถีชีวิต พิธีกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านจึงได้รับการเรียกขานขนานนามว่า " สล่าเมือง" นอกจากนี้ยังแบ่งประเภทของสล่าเมืองได้อีกสามลักษณะด้วยกันดังนี้
- อันดับแรก ได้แก่ผู้ที่มีความสามารถ ทักษะในการทำงานอย่างชำนาญเรียกว่า"สล่าเก๊า" หมายถึุง ผู้ที่เป็นหัวหน้าช่างนั่นเอง
-อันดับสอง สล่าผู้มีประสบการณ์ทำงานเป็นเวลาหลายปีมีคุณวุฒิวัยวุฒิ เป็นทีรู้จักยอมรับในวงการสล่าและสังคมเป็นอย่างดีเรียกว่า "สล่าหลวง"
-ส่วนสล่าอันดับสามคงจะเป็นผู้ที่กำลังแสวงหาความรู้ประสบการณ์จากการทำงาน เพื่อที่จะก้าวขึ้นไปเป็นตำแหน่งสล่าเก๊า เรียกว่า "สล่าตังป๋าย"หรือช่างกำลังฝึกหัด
สำหรับข้อมูลที่ท่านได้อ่านนี้ก็เป็นเพียงข้อมูลเบื้องกี่ยวกับสล่าเมืองเท่านั้นหากสนใจสามารถเข้าไป
ศึกษาข้อมูลต่อได้ที่ www.salahlanna.com ได้นะครับ
สำหรับวันนี้ก็มีตัวอย่างงานฝีมือสล่ามาให้ชมกันนะครับ
- อันดับแรก ได้แก่ผู้ที่มีความสามารถ ทักษะในการทำงานอย่างชำนาญเรียกว่า"สล่าเก๊า" หมายถึุง ผู้ที่เป็นหัวหน้าช่างนั่นเอง
-อันดับสอง สล่าผู้มีประสบการณ์ทำงานเป็นเวลาหลายปีมีคุณวุฒิวัยวุฒิ เป็นทีรู้จักยอมรับในวงการสล่าและสังคมเป็นอย่างดีเรียกว่า "สล่าหลวง"
-ส่วนสล่าอันดับสามคงจะเป็นผู้ที่กำลังแสวงหาความรู้ประสบการณ์จากการทำงาน เพื่อที่จะก้าวขึ้นไปเป็นตำแหน่งสล่าเก๊า เรียกว่า "สล่าตังป๋าย"หรือช่างกำลังฝึกหัด
สำหรับข้อมูลที่ท่านได้อ่านนี้ก็เป็นเพียงข้อมูลเบื้องกี่ยวกับสล่าเมืองเท่านั้นหากสนใจสามารถเข้าไป
ศึกษาข้อมูลต่อได้ที่ www.salahlanna.com ได้นะครับ
สำหรับวันนี้ก็มีตัวอย่างงานฝีมือสล่ามาให้ชมกันนะครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)